อะไรที่คุณยังไม่รู้…แต่จำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับ AI


หากพูดถึง Solution ด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ทุกวันนี้ คงเป็นไปไม่ได้ที่จะไม่เอาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI (Artificial intelligent) มาเป็นตัวชูโรง ไม่ว่าจะเป็นเหตุผลทางการตลาดของเครื่องหลาย ๆ เครื่องมือด้าน Cyber security หรือว่า Solution ที่ใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์เป็น main หลักในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังก็ตาม

ซึ่งทำให้องค์กร หรือบริษัทยักษ์ใหญ่ให้ความสนใจ หรือว่าแผนที่จะลงทุนกับเครื่องมือ Cybersecurity มากขึ้นถึง 71 เปอร์เซนต์ในปี 2019

แล้วอะไรที่คนทั่วไป หรือองค์กรได้มองข้ามหากว่าไม่ได้เข้าใจถึงปัญญาประดิษฐ์ ว่ามันคือ? ความแตกต่างระหว่าง AI และ ML (machine learning) การนำระบบปัญญาประดิษฐ์เข้าไปใช้ในผลิตภัณฑ์ด้านความปลอดภัย รวมทั้งเราจะรู้ได้ยังงัยว่ามันเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด

คำถามที่กล่าวมาข้างต้นนั่น เราจะไม่สามารถตอบคำถามได้เลยถ้าหากยังไม่รู้ว่าระบบปัญญาประดิษฐ์ที่แท้จริงมันคืออะไร ยังมีข้อมูลผิด ๆ ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีแบบนี้อีกมากมาย เพราะฉะนั้นเรามาเริ่มจากความจริงของระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligent) ที่คนทั่วไปยังไม่รู้กันก่อน

บางสิ่งบางอย่างที่ทำให้หลาย ๆ คนรู้สึกประหลาดใจว่า Artificial Intelligent ไม่ใช่เครื่องมือที่แปลกใหม่อะไร ในเครือข่ายปัจจุบันนี้ยังมีหลาย ๆ feature ที่มีซื่อเสียงมาก ๆ จึงกลายเป็นว่าทำให้ผู้คนรับรู้มากขึ้น และรู้สึกเหมือนใหม่เมื่อมีข้อมูลออกมาสู่สาธารณะ

เพราะจริง ๆ แล้วในระบบเครือข่ายนั้นมีมานานกว่าครึ่งศตวรรษ และหนึ่งในธุรกิจที่เกี่ยวกับระบบเครือข่ายนั่นก็คือขายระบบ anti – malware ซึ่งมาพร้อมกับระบบ windows 98 นั่นเอง

แล้ว ML (Machine learning) แตกต่างออกไปยังงัยล่ะ ? ซึ่งในความเป็นจริง ML เป็นรูปแบบนึงในของของการเรียนรู้จากกลุ่มตัวอย่างเป็นคอนเซ็ปต์ที่คนทั่วไปเข้าใจ ดังนั่นไม่ว่าเป็นคน หรือเครื่องจักรก็ตามต้องเรียนรู้ที่จะทำหน้าที่ด้วยกันอยู่แล้วทั้งก็ขึ้นอยู่กับความซับซ้อน และชำนาญที่จะทำให้เกิดขึ้น

ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดก็เป็นการ predict คีย์เวิร์ดของสมาร์ทโฟนซึ่งมันใช้ ML ในการบันทึกอะไรที่คุณอ่าน และเรียนรู้จาก style ของคุณเพื่อที่จะ predict สิ่งที่คุณจะพิมต่อไป หรืออะไรที่คุณกำลังจะพูด ยิ่งพิม หรือพูดค้นหาในสมาร์ทโฟนมากขึ้นเท่าไรยิ่งทำให้มั่นใจ และแม่นยำในการเรียนรู้ว่าคุณจะพูดอะไร และอย่างไร คุณค่าที่คุณมีผู้ช่วยของตัวเองที่สามารถ predict การพูด หรือการพิมของคุณแม้กระทั่งการเลื่อนเมาส์ หรือกิจกรรมอื่น ๆ ML ก็เรียนที่สิ่งนี้จนสามารถรับรู้ถึงพฤติกรรมที่โดดเด่น รวมทั้งนิสัยแปลก ๆ ของคุณได้

สำหรับอีกหนึ่งตัวอย่างที่จะแสดงให้เห็นก็คือแทนที่จะป้อนข้อความ Solution Malware และอะไรที่เป็นการแจ้งเตือนของไวรัส โดยการป้อนข้อมูลที่ถูกต้องก็สามารถช่วยให้ได้ผลลัพท์แม่นยำ และชัดเจนซึ่งหลาย ๆ รูปแบบ Platform  ที่ค้นพบบนเครือข่าย และการป้องกันนั้นซึ่งแอพพลิเคชั่นแรก ๆ ที่หลาย ๆ คนคิดนั่นก็คือ ปัญญาประดิษฐ์ในด้าน Cybersecurity ซึ่งเป็นที่แพร่หลายมากที่สุดในปัจจุบัน

สุดท้ายแล้วแน่นอนว่าการทำ ML นั่นไม่ง่ายเหมือนกับที่หาจุดบกพร่องของคอมพิวเตอร์ การสร้าง Solution ที่นำ ML มาประยุกต์มันยาก และใช้เวลานานกว่า เพราะอัลกอริทึมที่มีประสิทธิภาพจะต้องมีข้อมูลให้มันด้วยซึ่งหมายความว่าเรายังห่างไกลจาก Self – Learning Machine ที่ไม่ต้องให้มนุษย์ป้อนข้อมูล

ดังนั่นปัญญาประดิษฐ์ยังคงเป็นเพียงแค่เทคโนโลยีที่อยู่ในนิยายวิทยาศาสตร์ (แต่ไม่ใช่ว่าจะเป็นไปไม่ได้) แต่ทั้ง Artificial Intelligent และ Machine learning มีต้นแบบมาจาก หรือแนวคิดมาจากการป้องกันภัยทางไซเบอร์นั่นคือสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ในเมื่อแฮกเกอร์ใช้ AI/ML ในการโจมตีทางไซเบอร์เราจึงต้องใช้พัฒนาเทคโนโลยีเหล่านี้เพื่อให้ป้องกัน Cyber threat ให้เครือข่าย หรือระบบปลอดภัย

Andrew Walenstein is Director of Security R&D at BlackBerry.

Related products

No Product found.
Sirirat kantanat

นักเรียนทุนจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต มีความเชี่ยวชาญด้านการประมาณการเชิงสถิติ กำลังศึกษาวิจัยและพัฒนาวิธีการประยุกต์ใช้ Machine Learningและ Data Scienceกับธุรกิจสมัยใหม่ ปัจจุบันกำลังทำวิจัย เรื่องการตรวจจับ Malicious URLs โดยใช้ Machine learning เพื่อเป็นการป้องกันการ Phishing จาก Threat เพื่อนำไป implement กับระบบ log management

Similar tags

Apisit Anuntawan

การจัดการ Big Data (Hadoop และ MapReduce)

ในการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่หรือ Big Data มักมีการใช้ระบบสถาปัตยกรรมแบบ Hadoop ในการจัดการข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นบริษัท Facebook หรือ eBay

Read more...
Pakawadee Chanhom

Ragnar Ecosystem คืออะไร?

ผลผลิตของเราที่ได้จากความชื่นชอบและการพัฒนา Cybersecurity ให้ครอบคลุมในประเทศไทย โดยเริ่มต้นที่การทำ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)

Read more...
Apisit Anuntawan

สิ่งเล็ก ๆ ที่เรียกว่า Big Data

เทคโนโลยี Big Data จริง ๆ ก็คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการกับข้อมูลที่ปริมาณมหาศาล มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีความหลากหลายจากแหล่งที่มา

Read more...